A SIMPLE KEY FOR วัยทอง ควร ดูแล ตัว เอง อย่างไร UNVEILED

A Simple Key For วัยทอง ควร ดูแล ตัว เอง อย่างไร Unveiled

A Simple Key For วัยทอง ควร ดูแล ตัว เอง อย่างไร Unveiled

Blog Article

ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี ควรได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต ตรวจเลือดเพื่อดูระดับน้ำตาล ไขมันในเลือด การทำงานของตับและไต การตรวจปัสสาวะ ควรได้รับการตรวจเต้านมโดยแพทย์ ตรวจภายในและเช็คมะเร็งปากมดลูก การตรวจแมมโมแกรม การตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกเป็นไปตามข้อบ่งชี้ ซึ่งแพทย์จะพิจารณาเป็นรายๆ ไป ในรายที่มีโรคประจำตัวหรือมีความเสี่ยงต่อโรคบางอย่าง อาจตรวจเพิ่มเติมตามที่แพทย์เห็นว่าเหมาะสม

อย่างไรก็ตาม การรักษาด้วยการให้ฮอร์โมนอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงต่อผู้ป่วยบางราย เช่น ปวดหัว มีเลือดออกจากช่องคลอด เพิ่มความเสี่ยงของการแข็งตัวของเลือด และเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งเต้านม

วัยทองหรือวัยหมดประจำเดือนของผู้หญิงนับเป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และการปรับตัวเข้ากับสังคม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เหล่านี้อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต ดังนั้นการเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องวัยทองเพื่อให้สามารถปรับตัวรับกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยให้สตรีวัยทองสามารถดูแลตนเองและเพิ่มคุณภาพชีวิตได้

ในกรณีที่รู้สึกว่าการเปลี่ยนแปลงในวัยทองรบกวนต่อคุณภาพชีวิต อย่าลังเลที่จะไปพบแพทย์ เพื่อที่จะได้พูดคุย ปรึกษา เพื่อเลือกวิธีการดูแลรักษาที่เหมาะสมกับตัวเอง

พบภาวะซึมเศร้า อาการกังวล หงุดหงิด กระวนกระวาย ขาดสมาธิในการทำงาน นอนไม่หลับได้บ่อยขึ้น ไม่มีหลักฐานว่าอาการเหล่านี้เป็นผลมาจากการขาดฮอร์โมนเอสโทรเจน พบว่าอาการทางจิตใจส่วนใหญ่จะสัมพันธ์กับการประสบกับเหตุการณ์ที่ไม่ดีในชีวิต และความกังวลเกี่ยวกับร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ความชรา รวมถึงการสูญเสียความสวยงามทางร่างกาย ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทางครอบครัวและสังคมด้วย พบอาการซึมเศร้าได้บ่อยในรายที่เป็นกลุ่มอาการก่อนมีระดู

เราไม่สามารถที่จะห้ามการเกิดอาการวัยทองได้ แต่เราสามารถที่จะเรียนรู้อยู่กับอาการนี้ได้อย่างมีความสุข และใช้ชีวิตได้อย่างปกติต่อไป หลังจากที่คุณได้ศึกษาความเป็นมาของการวัยทองแล้ว

ทั้งนี้ สตรีวัยทองที่ได้รับฮอร์โมนทดแทนจำเป็นจะต้องได้รับการตรวจติดตามการรักษาอย่างน้อยปีละครั้ง และควรได้รับข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนถึงประโยชน์ที่จะได้รับ ความเสี่ยง และอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น

หากสตรีวัยทองไม่มีข้อห้ามของการใช้ฮอร์โมนทดแทน เช่น มีประวัติมารดาเป็นมะเร็งเต้านม กำลังเป็นมะเร็งเต้านมอยู่ (ไม่ว่าจะเป็นการสงสัยว่าจะเป็นหรือกำลังได้รับการรักษา) มีประวัติหลอดเลือดอุดตัน มีภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกหนา หรือมีประจำเดือนออกผิดปกติโดยไม่ทราบสาเหตุ แพทย์จึงจะพิจารณาการให้ฮอร์โมนทดแทนเป็นรายๆ ไปตามความจำเป็นและเหมาะสม 

เพื่อเป็นการช่วยคุณสามารถก้าวสู่วัยทองได้อย่างมั่นใจ เราจะขอพาทุกคนไปเช็กอาการวัยทอง และมีวิธีเตรียมตัวรับมือช่วงวัยนี้มาแนะนำกัน

การรักษาสุขภาพกระดูกเป็นสิ่งสำคัญในช่วงวัยหมดประจำเดือน เพื่อเป็นการรักษาความแข็งแรงของกระดูก คุณควรทานอาหารที่อุดมด้วยแคลเซียม เช่น ผลิตภัณฑ์จากนม ผักใบเขียว และอาหารเสริม

ในกรณีที่รู้สึกว่าการเปลี่ยนแปลงในวัยทองรบกวนต่อคุณภาพชีวิต อย่าลังเลที่จะไปพบแพทย์ เพื่อที่จะได้พูดคุย ปรึกษา เพื่อเลือกวิธีการดูแลรักษาที่เหมาะสมกับตัวเอง

ระยะหลังวัยหมดประจำเดือน คือ การสิ้นสุดวัยเจริญพันธุ์ของคุณ รังไข่จะผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนในระดับต่ำ แต่คุณก็จะไม่มีการตกไข่หรือมีประจำเดือนอีกต่อไป ผู้หญิงในระยะนี้มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นที่จะเป็นโรคหัวใจ และโรคกระดูกพรุน เนื่องจากฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง

มีอาการคัน วัยทอง ควร ดูแล ตัว เอง อย่างไร แสบร้อน ระคายเคืองบริเวณช่องคลอด เนื่องจากเมื่อช่องคลอดแห้ง ผนังช่องคลอดบาง จะมีผลต่อความเป็นกรดด่างภายในช่องคลอด ความเป็นกรดจะลดลง ทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อได้ง่ายขึ้น

รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบทุกหมู่ โดยเน้นอาหารที่มีปริมาณแคลเซียมสูงและไขมันต่ำ ไม่ควรรับประทานโปรตีนมากเกินไปโดยเฉพาะผู้สูงอายุ เนื่องจากทำให้มีการสูญเสียแคลเซียมมากขึ้นและทำให้ไตต้องทำงานหนักเกินไป เพิ่มอาหารประเภทเส้นใย เช่น ผักและผลไม้ ซึ่งจะช่วยลดการดูดซึมไขมันและน้ำตาล และยังช่วยให้การขับถ่ายอุจจาระดีขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่

Report this page